วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2552
แข่งเรือเฮือซ่วง..แห่กฐินทางน้ำ...สืบสานสู่รุ่นลูก-หลาน
ปีนี้จังหวัดสุโขทัย เน้นการสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อคนรุ่นหลัง เสริมงานประเพณี
ลอยกระทง และเทศกาลอาหาร โดยเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโข
ทัย ได้กำหนดจัดแห่กฐินทางน้ำขึ้น ระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม -2 พฤศจิกายน 2552 ณ
บริเวณเขื่อนเรียงหิน หมู่ 2 ต.หาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย
ว่าที่ ร.ต.ธีระยุทธ สุดเสมอใจ นายกเทศมนตรีตำบลหาดเสี้ยว กล่าวถึงความเป็นมา
ของประเพณีแห่องค์กฐินทางน้ำ และแข่งเรือ หรือชาวบ้านเรียกว่า (เฮือซ่วง) เป็นการ
ทำบุญ ในเทศกาลทอดกฐินของชาวไทยพวน ที่นิยมทอดกันตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน
11 เป็นต้นไป จนถึงกลางเดือน 12 และถือกันว่า การทอดกฐินได้บุญมาก ผู้มีฐานะดี
พอที่จะทอดได้ ต้องทอดด้วยกันทุกคน ผู้มีจิตศรัทธาปรารถนาจะทอดกฐิน ต้องเขียน
หนังสือแสดงความจำนงจะทอดกฐินในวัน เดือน ปี นั้น ๆ ไปติดประกาศไว้ที่วัด เรียก
ว่า จองกฐิน
นายกเทศมนตรีตำบลหาดเสี้ยว กล่าวอีกว่า ในอดีตการทอดกฐินถ้าไปทอดที่วัดห่าง
ไกลจากหมู่บ้าน ชาวบ้านจะช่วยกันแห่ไปแล้วทอดเสร็จในวันเดียว หากทอดที่วัด
ประจำในหมู่บ้าน หรือวัดใดวัดหนึ่งใกล้ ๆ กัน จะต้องมีการแห่วันหนึ่ง ทอดวันหนึ่ง การ
แห่ คือ การจัดเครื่องกฐิน เรียกว่า กองกฐิน ลงเรือยาวขนาดใหญ่ซึ่งจัดสร้างขึ้นไว้ใน
การนี้โดยเฉพาะ แล้วประดับตกแต่งอย่างสวยงาม ตามความนิยมของชาวบ้านหา
เสี้ยว ก่อนจะแห่ขึ้นไปตามลำน้ำ ซึ่งบรรดาชาวบ้านที่ตั้งบ้านเรือนอยู่สองฝั่งแม่น้ำ เมื่อ
ได้ยินพิณพาทย์แห่กฐินมา จะพากันอุ้มลูกจูงหลานมาดูมาชมอย่างคับคั่ง ส่วนผู้เฒ่า
ผู้แก่ จะถือเครื่องไทยธรรมตามมีตามเกิด มารอคอยอยู่ที่ท่าน้ำเพื่อร่วมอนุโมทนาด้วย
ว่าที่ ร.ต.ธีระยุทธ กล่าวเพิ่มเติมว่า เมื่อเรือกฐินผ่านมา จะแวะเข้าไปรับทุก ๆ แห่ง จน
สุดหมู่บ้านแล้ววนกลับ ในการแห่กฐินนี้พวกเด็กเล็กในหมู่บ้านที่ทอดกฐิน ต่างพากัน
ร้องไห้กระจองอแง ขอให้พ่อแก่นำไปแห่กฐินด้วย พ่อแม่จำเป็นจะต้องพาลงเรือพาย
เรือแจวไปร่วมกับเรือกฐิน แต่ประเพณี ดังกล่าวเริ่มจะจางหายไปตามกาลเวลา คนรุ่น
หลังก็ยังให้ ความสนใจประเพณี นี้ไม่มากนัก
“ดังนั้นทางผู้บริหาร และคณะเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว จึงได้ฟื้นฟูและสนับสนุน
ประเพณีแห่กฐินทางน้ำ และแข่งเรือ (เฮือซ่วง) ขึ้น ซึ่งคาดหมายว่า จะได้รับความพึง
พอใจจากชาวตำบลบ้านหาดเสี้ยว และคนสุโขทัย พร้อมทั้งนักท่องเที่ยวที่ได้เดินทาง
มาท่องเที่ยวศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณี ที่สำคัญอีกอย่างของคนสุโขทัย ซึ่งถือว่า
เป็นเมืองวัฒนธรรมและเมืองมรดกโลก ซึ่งพร้อมจะสืบสานประเพณีนี้ให้คงอยู่คู่กับ
ชุมชนเทศบาลตำบลหาดเสี้ยวและคน หาดเสี้ยวต่อไป
”ว่าที่ ร.ต.ธีระยุทธ กล่าวว่า สุโขทัย เป็นเมืองเก่าแก่ เป็นต้นกำเนิดของวัฒนธรรมประ
เพณีที่หลากหลาย และน่าค้นคว้า ซึ่งหากใครได้มาชมงานกฐินทางน้ำ และแข่งเรือ
ของชาวหาดเสี้ยวแล้ว เชื่อว่านอกจากจะได้สนุกสนานเพลิดเพลินแล้ว ยังได้รับรู้ถึง
วัฒนธรรมประเพณีของที่นี่อีกด้วย.
ปีนี้จังหวัดสุโขทัย เน้นการสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อคนรุ่นหลัง เสริมงานประเพณี
ลอยกระทง และเทศกาลอาหาร โดยเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโข
ทัย ได้กำหนดจัดแห่กฐินทางน้ำขึ้น ระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม -2 พฤศจิกายน 2552 ณ
บริเวณเขื่อนเรียงหิน หมู่ 2 ต.หาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย
ว่าที่ ร.ต.ธีระยุทธ สุดเสมอใจ นายกเทศมนตรีตำบลหาดเสี้ยว กล่าวถึงความเป็นมา
ของประเพณีแห่องค์กฐินทางน้ำ และแข่งเรือ หรือชาวบ้านเรียกว่า (เฮือซ่วง) เป็นการ
ทำบุญ ในเทศกาลทอดกฐินของชาวไทยพวน ที่นิยมทอดกันตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน
11 เป็นต้นไป จนถึงกลางเดือน 12 และถือกันว่า การทอดกฐินได้บุญมาก ผู้มีฐานะดี
พอที่จะทอดได้ ต้องทอดด้วยกันทุกคน ผู้มีจิตศรัทธาปรารถนาจะทอดกฐิน ต้องเขียน
หนังสือแสดงความจำนงจะทอดกฐินในวัน เดือน ปี นั้น ๆ ไปติดประกาศไว้ที่วัด เรียก
ว่า จองกฐิน
นายกเทศมนตรีตำบลหาดเสี้ยว กล่าวอีกว่า ในอดีตการทอดกฐินถ้าไปทอดที่วัดห่าง
ไกลจากหมู่บ้าน ชาวบ้านจะช่วยกันแห่ไปแล้วทอดเสร็จในวันเดียว หากทอดที่วัด
ประจำในหมู่บ้าน หรือวัดใดวัดหนึ่งใกล้ ๆ กัน จะต้องมีการแห่วันหนึ่ง ทอดวันหนึ่ง การ
แห่ คือ การจัดเครื่องกฐิน เรียกว่า กองกฐิน ลงเรือยาวขนาดใหญ่ซึ่งจัดสร้างขึ้นไว้ใน
การนี้โดยเฉพาะ แล้วประดับตกแต่งอย่างสวยงาม ตามความนิยมของชาวบ้านหา
เสี้ยว ก่อนจะแห่ขึ้นไปตามลำน้ำ ซึ่งบรรดาชาวบ้านที่ตั้งบ้านเรือนอยู่สองฝั่งแม่น้ำ เมื่อ
ได้ยินพิณพาทย์แห่กฐินมา จะพากันอุ้มลูกจูงหลานมาดูมาชมอย่างคับคั่ง ส่วนผู้เฒ่า
ผู้แก่ จะถือเครื่องไทยธรรมตามมีตามเกิด มารอคอยอยู่ที่ท่าน้ำเพื่อร่วมอนุโมทนาด้วย
ว่าที่ ร.ต.ธีระยุทธ กล่าวเพิ่มเติมว่า เมื่อเรือกฐินผ่านมา จะแวะเข้าไปรับทุก ๆ แห่ง จน
สุดหมู่บ้านแล้ววนกลับ ในการแห่กฐินนี้พวกเด็กเล็กในหมู่บ้านที่ทอดกฐิน ต่างพากัน
ร้องไห้กระจองอแง ขอให้พ่อแก่นำไปแห่กฐินด้วย พ่อแม่จำเป็นจะต้องพาลงเรือพาย
เรือแจวไปร่วมกับเรือกฐิน แต่ประเพณี ดังกล่าวเริ่มจะจางหายไปตามกาลเวลา คนรุ่น
หลังก็ยังให้ ความสนใจประเพณี นี้ไม่มากนัก
“ดังนั้นทางผู้บริหาร และคณะเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว จึงได้ฟื้นฟูและสนับสนุน
ประเพณีแห่กฐินทางน้ำ และแข่งเรือ (เฮือซ่วง) ขึ้น ซึ่งคาดหมายว่า จะได้รับความพึง
พอใจจากชาวตำบลบ้านหาดเสี้ยว และคนสุโขทัย พร้อมทั้งนักท่องเที่ยวที่ได้เดินทาง
มาท่องเที่ยวศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณี ที่สำคัญอีกอย่างของคนสุโขทัย ซึ่งถือว่า
เป็นเมืองวัฒนธรรมและเมืองมรดกโลก ซึ่งพร้อมจะสืบสานประเพณีนี้ให้คงอยู่คู่กับ
ชุมชนเทศบาลตำบลหาดเสี้ยวและคน หาดเสี้ยวต่อไป
”ว่าที่ ร.ต.ธีระยุทธ กล่าวว่า สุโขทัย เป็นเมืองเก่าแก่ เป็นต้นกำเนิดของวัฒนธรรมประ
เพณีที่หลากหลาย และน่าค้นคว้า ซึ่งหากใครได้มาชมงานกฐินทางน้ำ และแข่งเรือ
ของชาวหาดเสี้ยวแล้ว เชื่อว่านอกจากจะได้สนุกสนานเพลิดเพลินแล้ว ยังได้รับรู้ถึง
วัฒนธรรมประเพณีของที่นี่อีกด้วย.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
1/1
เด็กชาย จิรวัฒณ์ กิ่งแก้ว
เด็กชาย จีรศักดิ์ แก้วเทศ
เด็กชาย ธนวินท์ สายสุภา
เด็กชาย นิธินันท์ เรือนมูล
เด็กชาย ประวิทย์ ท้องธาร
เด็กชาย พงศ์สิทธิ์ สืบสวน
เด็กชาย รัชชานนท์ พรมมินทร์
เด็กชาย วิฑูร เกิดผล
เด็กหญิง กมลมาศ ดาวคะนอง
เด็กหญิง กิตติยา บัวกล้า
เด็กหญิง คนิจดา นุมัติ
เด็กหญิง จริยา กำมะหยี่
เด็กหญิง จันทิมา เที่ยงตรง
เด็กหญิง จินดารัตน์ ขันติสิริโชค
เด็กหญิง เจนจิรา ปัญญาเครือ
เด็กหญิง ชิดชนก ญาณปัญญา
เด็กหญิง ณัฐฑริกา เรืองขำ
เด็กหญิง ดาราณี แก้วสอน
เด็กหญิง ธันยพร ดอนแก้ว
เด็กหญิง ธารีณี ชื่นชอบ
เด็กหญิง ธีรนาท ชื่นชอบ
เด็กหญิง นันท์นภัส ธุรี
เด็กหญิง นิทยา จีนสมุทร์
เด็กหญิง นิรมล พ้นพาล
เด็กหญิง บุษราภรณ์ หอยศรีจันทร์
เด็กหญิง ปฏิญญาพร เถื่อนประดิษฐ
เด็กหญิง เพชราภรณ์ สีพุทธา
เด็กหญิง รวิสรา นิตรา
เด็กหญิง รัตนาวดี นิโคล ภู่สิงห์
เด็กหญิง ลลิดา คล้ายสุบรรณ
เด็กหญิง วรรณภา บุกล่า
เด็กหญิง วรัญญา เงาะหวาน
เด็กหญิง ศศิธร อมรมุณีพงศ์
เด็กหญิง ศิรินันท์ เรืองมั่น
เด็กหญิง ศิริรัตน์ สืบบุญ
เด็กหญิง ศุทธินี ช่วยบุญ
เด็กหญิง สมัชญา งอนไปล่
เด็กหญิง สุธินี ชะม้าย
เด็กหญิง สุนันทา กอนวงศ์
เด็กหญิง อรอนงค์ สุขสัจจี
เด็กชาย จีรศักดิ์ แก้วเทศ
เด็กชาย ธนวินท์ สายสุภา
เด็กชาย นิธินันท์ เรือนมูล
เด็กชาย ประวิทย์ ท้องธาร
เด็กชาย พงศ์สิทธิ์ สืบสวน
เด็กชาย รัชชานนท์ พรมมินทร์
เด็กชาย วิฑูร เกิดผล
เด็กหญิง กมลมาศ ดาวคะนอง
เด็กหญิง กิตติยา บัวกล้า
เด็กหญิง คนิจดา นุมัติ
เด็กหญิง จริยา กำมะหยี่
เด็กหญิง จันทิมา เที่ยงตรง
เด็กหญิง จินดารัตน์ ขันติสิริโชค
เด็กหญิง เจนจิรา ปัญญาเครือ
เด็กหญิง ชิดชนก ญาณปัญญา
เด็กหญิง ณัฐฑริกา เรืองขำ
เด็กหญิง ดาราณี แก้วสอน
เด็กหญิง ธันยพร ดอนแก้ว
เด็กหญิง ธารีณี ชื่นชอบ
เด็กหญิง ธีรนาท ชื่นชอบ
เด็กหญิง นันท์นภัส ธุรี
เด็กหญิง นิทยา จีนสมุทร์
เด็กหญิง นิรมล พ้นพาล
เด็กหญิง บุษราภรณ์ หอยศรีจันทร์
เด็กหญิง ปฏิญญาพร เถื่อนประดิษฐ
เด็กหญิง เพชราภรณ์ สีพุทธา
เด็กหญิง รวิสรา นิตรา
เด็กหญิง รัตนาวดี นิโคล ภู่สิงห์
เด็กหญิง ลลิดา คล้ายสุบรรณ
เด็กหญิง วรรณภา บุกล่า
เด็กหญิง วรัญญา เงาะหวาน
เด็กหญิง ศศิธร อมรมุณีพงศ์
เด็กหญิง ศิรินันท์ เรืองมั่น
เด็กหญิง ศิริรัตน์ สืบบุญ
เด็กหญิง ศุทธินี ช่วยบุญ
เด็กหญิง สมัชญา งอนไปล่
เด็กหญิง สุธินี ชะม้าย
เด็กหญิง สุนันทา กอนวงศ์
เด็กหญิง อรอนงค์ สุขสัจจี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น